บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 9
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันที่ 17 มีนาคม
พ.ศ.2558
กลุ่มเรียน 105 (วันอังคาร) เวลา 08:30 – 12:20 น.
ความรู้ที่ได้รับ
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
การกินอยู่
การเข้าห้องน้ำ
การแต่งตัว
กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การกินอยู่
การเข้าห้องน้ำ
การแต่งตัว
กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การสร้างความอิสระ
-เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
-อยากทำงานตามความสามารถ
-เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน
เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
-การได้ทำด้วยตนเอง
-เชื่อมั่นในตนเอง
-เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
-ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น
(ใจแข็ง)
-ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
-ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- “ หนูทำช้า ” “ หนูยังทำไม่ได้ ”
จะช่วยเมื่อไหร่
-เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร , หงุดหงิด , เบื่อ , ไม่ค่อยสบาย
-หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
-เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้
แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
ตัวอย่าง
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
(อายุ 2-3 ปี)
การแต่งตัว
- ถอดเสื้อออกได้
- เปลี่ยนเสื้อได้
-
อาจเลิกทำได้ง่ายๆ
-ต้องการคนช่วยเหลือแต่ก็ร่วมมือดี
การกินอาหาร
- ใช้ช้อนส้อมได้
- แต่ชอบใช้มือและช้อนมากกว่า
-
ป้อนอาหารที่ชอบได้เอง
-ดื่มน้ำจากแก้วได้
การอาบน้ำและการเข้าห้องน้ำ
-บอกว่าจะเข้าห้องน้ำได้โดยไม่ทำเลอะก่อน
-
กลั้นปัสสาวะ อุจจาระได้
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
-แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
-เรียงลำดับตามขั้นตอน
การเข้าส้วม
-เข้าไปในห้องส้วม
-ดึงกางเกงลงมา
-ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
-ปัสสาวะหรืออุจจาระ
-ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
-ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
-กดชักโครกหรือตักน้ำราด
-ดึงกางเกงขึ้น
-ล้างมือ
-เช็ดมือ
-เดินออกจากห้องส้วม
การวางแผนทีละขั้น
-แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆให้มากที่สุด
สรุป
-ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
-ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
-ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
-ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
-เด็กพึ่งตนเองได้
รู้สึกเป็นอิสระ
กิจกรรมในห้องเรียน
วงกลมตามความรู้สึก
ต้นไม้แห่งชีวิต
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
- เพื่อช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองของเด็กได้อย่างถูกวิธี
- สามารถนำเอาเทคนิคการสอนโดยให้นักเรียนวาดรูปวงกลมตามความรู้สึกนั้นไปใช้กับเด็กได้ในอนาคต
- สามารถนำเรื่องการย่อยงานไปใช้กับเด็กให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
-
สามารถนำเอาความรู้ที่ได้นั้นมาจัดการเรียนการสอนได้ตรงตามความต้องการของเด็ก
การประเมินการเรียนการสอน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อยและตั้งใจฟังเวลาอาจารย์สอนพร้อมจดบันทึกในประเดนที่สำคัญและตัวอย่างที่อาจารย์ยกมาเป็นตัวอย่าง
เพื่อน = เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่ก็มีบางคนมาสายแต่เป็นส่วนน้อย
ทุกคนแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและจดบันทึกความรู้ที่ครูสอนเป็นอย่างดีกันทุกคน
อาจารย์ = เข้าสอนตรงต่อเวลา
แต่งกาสุภาพเรียบร้อย ในการสอนแต่ละครั้งอาจารย์จะมีตัวอย่างและท่าทางประกอบมาให้ดูเพื่อให้เข้าใจง่ายมากขึ้นและนำกิจกรรมมาให้นักศึกษาได้ทำกันตลอดในกิจกรรมวงกลม
อาจารย์ก็จะเดินดูและบอกลักษณะนิสัยให้กับทุกคน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น